วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ชอเฮง:คุณไกรสินธุ์ วงศ์สุรไกร Assignment ของ ผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น งานลำดับที่ 48

ชอเฮง:คุณไกรสินธุ์ วงศ์สุรไกร Assignment ของ ผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น
ความแตกต่างระหว่างเอเซียนกับอาเชียน
เอเซียน ครอบคลุมทั้งทวีป ที่ต้องมีอาเซียน เนื่องจากการกลัวเรื่องลัทธิสังคมนิยม ส่วนคนที่บอกว่าไม่มีคือพวกทุนนิยม คือสหรัฐอเมริกา ส่วนไทยถูกเกลี่ยกล่อม พร้อมทั้ง CLMV กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม
Regional Movement ความเคลื่อนไหวในภูมิภาค
TPP Trans Pacific Partnership จัดว่าเป็น High Quality FTA ริเริ่มก่อนตั้งด้วยอเมริกา เพราะมีอาเซียนบวก 1 บวก 3 บวก6
อเมริการพยายามสร้างกรอบเศรษฐกิจทางการค้า แต่ยังกันจีนอยู่ แต่จีนก๊อแสดงความจำนงค์  ญี่ปุ่นจะได้รับผลกระทบกับ TPP ซึ่งคนญี่ปุ่นต่อต้าน
ผู้ก่อตั้งหลักของ ASEAN: Association of South East Asian Nations
ไทย  เป็นสมาชิกเมื่อปี  2510 ประเทศไทยมีประชากร 67 ล้านคน จำนวน Population ทั้งหมดของ AEC = 607,567,100 คน
ประธานบริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย บอกว่าตอนนี้สนใจฐานการผลิตที่ อินโดนีเซีย ส่วนอันดับ คือ เวียดนาม
เลขาธิการคนใหม่ของอาเซียน เป็นชาวเวียดนาม คือ Mr. Le Luong Minh เป็นคนที่จะทำให้เวียดนามขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ดี
สัดส่วนวัตถุดิบที่ตกลงกันในอาเซียน ตัวอย่างกรใช้สัดส่วนวัตถุดิบตากรอบ AFTA คือ นอก ASEAN 60% ในอาเซียน 40%
หากจะส่งสินค้าเข้าไปใน Philippines หรือประเทศในอาเซียน ต้องมี Harmonized System (HS) ASEAN Harmonized Tariff Nornenclature (AHTA) เป็นหมายเลขประจำตัวของสินค้า
AFTA: ASEAN Free Trade Agreement ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin)
CEPT Form D to ATIGA Form(ASEAN Trade in Goods Agreement)
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Greater Mekong Sub-Region (GMS) ก่อตั้งในปี 2535มีประเทศ ไทย ลาว เมียนม่าร์ กัมพูชา เวียดนาม จีน-กวางซี จีน-หยุนหนาน
ประเทศไทยประตูสู่อาเซียนและประเทศจีน
-Southern Economic Corridor (SEC)
-East-West Economic Corridor (EWEC) 1,320 km
-North-South Economic Corridor (NSEC)
                R3A:Via Lao: Chian Rai-Chiang Knong-Huay zai-Luang Narntha-Bohan-Chiang Rung-Kunming (1,090km)
                R3B: Via Myanmar

จุดข้ามแดน 8 ด่านศุลกากรสำคัญ
1. แม่สาย
2. เชียงของ
3. แม่สอด
4. ปาดังเบซาร์
5. หนองคาย
6. มุกดาหาร
7. อรัญประเทศ
8. สะเดา
การค้าชายแดนไทยเพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2555 มูลค่าการค้าชายแดนในปี 2555 สูงถึง 910,500 ล้านบาท
1. 58% มาเลเซีย
2. 19% ลาว
3. 14% เมียนมาร์
4. 9% กัมพูชา
สัดส่วนวิธีการขนส่งสินค้าของไทย 2555
ทางถนน 86% ทางน้ำ 12% ทางอากาศ 0.02%
ตำแหน่งความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐาน (เอเซีย) ปี 2555-2556
สถิติที่เข้ามาเที่ยวเมืองไทย 22 ล้านคน ประเทศจีนมา 4 ล้านคน
RCEP เป็นการเจรจาแบบ package เดียว
Regional Comprehensive Economic Partnership
ข้าวไทย
ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ เวียดนาม 862.4 กิโลกรัมต่อไร่ อินโดนีเซีย 801.6 กิโลกรัมต่อไร่ ไทย 545.4 กิโลกรัมต่อไร่
ราคาข้าวไทย (Thailand Hormmali 92%) ในตลาดโลก ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2556 1050-1060 FOB US/Ton (1 US=31.60)
ค่าจ้างรายวัน
ไทย 9.67 ดอลล่าห์
สิ่งที่กำลังเปลี่ยนแปลงใน ASEAN
-ภาษีศุลกากร
-พื้นที่ตลาด
-การแข่งขัน
-มาตรการทางการค้า
-การลงทุน
-เงินทุนเคลื่อนย้าย
-การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ (แพทย์อายุรกรรม ทันตแพทย์ พยาบาล นักบัญชี สถาปนิก วิศวกร นักสำรวจ บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว)
มาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี Non Tariff Neasures (NTMs)
-การทุ่มตลาด Anti-Dumpling
-การอุดหนุน Export Subsidy
-การประเมินราคา Customs Valuation
-มาตรการป้องกัน Safeguards
-การออกใบอนุญาตนำเข้า Import Licensing
-อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า TBT
-การตรวจสอบสินค้าก่อนส่งออก Preshipment Inspection
การกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี Non Tariff Barriers (NTBs)
-การบริหารโควต้าภาษี
-มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการค้า
-มาตรฐานแรงงาน
-การปิดฉลาก
ประเทศไทยในสายตานักลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศ
                ไทยไม่ได้เป็นดาวจรัสแสงอีกต่อไป ปัญหาการเมือง ความขัดแย้งภายในประเทศ ปัญหาคอรับปชั่น ปัญหาขาดแคลนแรงงาน ความสามารถในการสื่อสาร ฯลฯ กำลังบดบังศักยภาพสำคัญของประเทศไทยเพิ่มขึ้น
ชอเฮง
ประกอบการผลิต 24 ชั่วโมง แบ่งเป็น 3 กะ
การจัดการที่ยากที่สุดคือ คนในองค์การ
มีโรงบำบัดน้ำเสีย ทำให้มี ไบโอก๊าซ และหลังค่าใช้แผงโซล่าเซล และนำน้ำแปรงสภาพเป็นน้ำดื่มได้
UASB Control เป็นโครงการร่วมมือกับรัฐบาลไทยกับญี่ปุ่น
ห้องประชุมใหญ่เอาไว้เป็นสาธารณะประโยชน์ มาขอใช้ห้อง ขอให้หัวข้อในการอบรมเป็นประโยชน์คนหมู่มาก


วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

IMS/MDSS A bridge to successful implementation for marketing

IMS 1. ก่อนการออกแบบวัฏจักร์ 2. ลงมือปฏิบัติการ 3. การประเมินผล three stages of management science activity 1 Intervention 2 Implementation 3 Improvment Successful implementation 1. management support 2 user involvement 3 personal stake 4 implementation ในการ implementation Model Validity: measure valutity, face validity, the validity of the model structuer, the choice of estimation method, the amount of information Model costs benefits: Develo;ment costs, mainteance cost Implementation rules of thumb

Decision support and implementation 1

DSS ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการตัดสินใจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านบุคต DSS -Models -Optimization -Stratistic -Data -Q/A The retailing decision support system input -reference conditions -marketing plan alternative output -Sale@profit (an evaluation of the marginal profitabilityd Evaluation -a national compaign and event evaluation system -a market experiment system -and interacitve data base and analysis system Key success (Company profitability)

new product development planning 2 พี่จิ๊บ

โปรแกรมกาาพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างมีประเสิทธิภาพ - ทีมงานจะต้องมีความชำนาญ - การวิจัยทางการตลาด - การวางแผนการขายและการพยากรณ์ยอดขาย Type of new product New product , new brand, new model The Adoption process for new products The repeat purchase models for new products

Services marketing

การตลาดบริการ อะไรก็ตามที่สร้างความพึงพอใจ ตอบสนองความจำเป็นและความต้องการของผู้บริโภค -สิ่งที่ตลาดให้ความสนใจและเป็นที่จับตามอง เช่น สภากาชาด ร้านตัดผม สถานที่พักร้อน Classifications of service -แบ่งตามความทนทานหรือจับต้องได้: ซื้อบ่อย นานๆ ซื้อ สินค้าบริการ -แบ่งตามการใช้งานของผู้บริโภค หรืออุตสาหกรรมการผลิต: สินค้าหรือบริการที่ใช้บ่อยหรือจำเป็น The theory of services strategy - Service decisionแปลตาม Marketing mix decision -Service decision แปลตาม product positioning ตัวแปรคือ คุณภาพของสินค้าและบริการ ตัวแปรคือระยะทางระหว่างสินค้าหรือบริการกับผู้บริโภค รูปแบบการตัดสนใจสำหรับการออกแบบบริการ -perceptual mapping =วิธีการหาความคิดของลูกค้าเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ สรุป Service design use defender model service design decision use prederence choice model

วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Sale force

The structure of sales force decision problem 1. setting goals for personnal selling decision 2. Determining the magnitude of the effortsaleforce sizing 3. Allocting the effort-over products, customer selection, 4. Organizing and controlling the effort: motivation compensation feedback and control Sales force sizing Maximize Z = PQ(x)-C(Q) Organizing and controlling the effort

promotion model

Manufacturer ทำ promotion ออกไปยัง Retailer เช่น Case Advertising Displany allowanวัต วัตถุประสงค์การส่งเเสริมการขาย เพิ่มการซื้อซ้ำ เพิ่มส่วนแบ่งตลาด เพื่อวามถี่ในการส่งเสิรมการขาย ลักษณะของการส่งเสริมการขาย -ควรต้องพิจารณาถึงประสิทธิผลที่จะได้รับ -เครื่องมือที่ใช้ต้องมีความเหมาะสม -พิจารณาตามขนาดของธุรกิจ -การใช้คูปองหรือค่าธรรมเนียม ผลกระทบทางกายภาพของการส่งเสริมการขาย -ผลกระทบทางกายภาพ -อัตราการเปลี่ยนตราผลิตภัณฑ์าที่เลือกใช้ -ความภักดีในตราผลิตภัณฑ์

โฆษณา Advertisting

Advertisting โฆษณาเป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพทรงพลังในการจัดการทางด้านการตลาด -อยู่ในทุก ๆ ส่วนของส่วนประสมทางการตลาด -ประสิทธิภาพของการโฆษณา -Bugeting plan -media plan (media selection) -advertising model (creative pretest) Hierarchy of effects model -Do purchase, conviction -Feel preference, liking -Think knowledge , awareness

the sheth model

the sheth model 1.ทางด้านจิตวิทยา แนวความคิดเกี่ยวกับความคาดหวังที่จะต้องตอบสนองความพึงพอใจของผู้ซื้อ 2.ร่วมตัดสินใจ บอกถึงความแตกต่งการซื้อ 3.กระบวนการความคิดเห็นที่แตกต่าง 4.ปัจจัยอื่น ๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่นปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน

พฤติกรรมผู้บริโภคภาคอุตสาหกรรม

แหล่งข้อมูลมีความสำคัญ ข พนักงานขาย งานแสดงสินค้า ข้อมูลที่ส่งทางไปรษณีย์ ข่าประชาสัมพันธ์ แบบจำลองพฤติกรรมการซื้อขององค์การ

New Product Development Planning โดยละเอียดที่ใช้ส่งงาน ผศ.ดร. วิชิต อู่อ้น

New Product Development Planning
          การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่จะทำให้องค์การประสบความสำเร็จในระยะยาว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเป็นที่ทราบดีว่าการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือการสร้างนวัตกรรมใหม่เป็นสิ่งที่ใช้ต้นทุนสูง และมีความเสี่ยงสูง (high cost high risks) แต่ความเสี่ยงดังกล่าวจะสามารถควบคุมได้โดยผ่าน ความเข้าใจที่ชัดเจน และการบริหารการดำเนินงานอย่างมืออาชีพ ดังนั้น ประเด็นที่สำคัญสำหรับการบริหารความเสี่ยงในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ได้แก่
1.  ให้ความสำคัญกับการจัดให้มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ Effective organizational arrangements for new product research and development
2. การมีพนักงานที่เป็นมืออาชีพทางด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ Professional staffing
3. มีค่าใช้จ่ายในการวิจัยตลาดอย่างเหมาะสม Adequate expenditures for marketing research
4. มีการวางแผนและการพยากรณ์จำนวนการขายของกาขายผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ชัดเจน The use of sound explicit models for planning and forecasting new product sales
ประเภทของผลิตภัณฑ์ใหม่ Type of New Product Situations
Product Newness ผลิตภัณฑ์ใหม่
1.New Product innovation สินค้าที่เป็นนวัตกรรมใหม่ รวมทั้งใหม่ในตลาด และใหม่ที่บริษัท
2. New Brand รวมทั้งแบรนด์ที่ใหม่ในองค์การ แต่ไม่ค่อยใหม่ในตลาด
3. New Model  ซึ่งอาจจะเป็น รูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ บรรจุภัณฑ์ใหม่
ความถี่ในการซื้อ Frequency of purchase
คือความชัดเจนที่จะตอบได้ว่าผู้ซื้อจะซื้อสินค้า และจนกระทั่งผู้ซื้อต้องการซื้อสินค้าอีกครั้งหนึ่ง  ผลิตภัณฑ์ที่มีความถี่ในการซื้อส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าอุปโภค

จากภาพของ Sales life cycle for a repurchasable new product พบว่า ผู้ซื้อจะทำการซื้อในครั้งแรกเป็นจำนวนมาก และค่อย ๆ ลดจำนวนลงตามกาลเวลา ซึ่งหากยังมีความสนใจจากผู้บริโภคก็จะมีการกลับมาซื้อซ้ำอีกครั้ง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของผู้บริโภค แต่ที่ทำให้ New Product development ไม่ค่อยสำเร็จเท่าที่ควรอาจะเกิดจากจุดอ่อนของตัวผลิตภัณฑ์ หรือ life style คนที่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นความถี่ในการซื้อสินค้าจะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจซื้ออีกครั้ง
The Adoption process for new products กระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ใหม่ของลูกค้า

          กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคเป็นขั้นตอนที่เริ่มตั้งแต่การได้รับรู้หรือได้ยินผลิตภัณฑ์ของเราจนกระทั่งการตัดสินใจที่จะซื้อหรือใช้สินค้า/บริการ และตัดสินใจจะใช้สินค้านี้เป็นประจำ จะเห็นได้ว่าใน Chart จะแบ่งคนไว้หลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะได้รับอิทธิพลมาแตกต่างกัน บางคนจะเป็น Leader  (หาข้อมูล หรือถามผู้รู้) บางคนจะเป็นผู้ตาม ซึ่งสมัยก่อนหน้าที่คนที่เป็นผู้บริโภคคนเดียวที่เกี่ยวข้องกันการตัดสินใจซื้อสินค้า แต่ยุคสมัยปัจจุบัน Word of mouth ทวีความสำคัญ

ผุ้บริโภคจะมีปฏิกิริยาต่อผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างไร How individual react to new ideas and product
- ผู้บริโภคจะรับรู้ผ่าน step ต่างคือ
                - Knowledge occurs เมื่อนวัตกรรมถือกำเนิดขึ้น แล้วเราไปศึกษา
                - persuasion occurs มีความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่อนวัตกรรมอันนั้น
                - Decision occurs หาทางที่จะให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ หรือหาเหตุผลหักล้างและไม่ชอบผลิตภัณฑ์
                -Implementation occurs ใช้นวัตกรรม
                - Confirmation occurs มีการตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์ซ้ำ
Aggregate diffusion model: Models of first purchase โมเดลของการซื้อครั้งแรก


                ในตลาดจะมีการแบ่งสินค้าที่เป็น pure innovative (นวัตกรรม)  และ pure imitative (เลียนแบบ)
ซึ่งหากเป็น pure innovative (สินค้าที่เป็นนวัตกรรม ) สิ่งที่จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคคือ ตัวนวัตกรรมเอง หรือปัจจัยภายนอกที่จะมามีผลกระทบต่อการซื้อครั้งแรก
ซึ่งหากเป็น pure imitative (เลียนแบบ)  สิ่งที่จะทรงอิทธิพลคือต้องทำให้เกิด word of mouth

Repeat-purchase models for new products
อัตราการซื้อซ้ำเป็นสิ่งสำคัญที่นักการตลาดจะต้องทำให้เกิดขึ้น ดังนั้น ขั้นตอนการซื้อซ้ำ และการควบคุมมีดังนี้
1. Must be made aware by Advertising , Promotion, Sampling
2. Must be induced to try by Advertising (Product Concept), Relative price, Distribution Sampling
3. Must be induced to repeat once by Product Quality/delivery, Distribution, relative price
4. Must be induced to repeat regularly (Become a loyal customer) by Product Quality/delivery, Distribution, relative price


Marketing Strategy 2

Marketing planning and strategy decision 1. Traditional assessment of market 2. the marketing strategy core 3. the generationa and evaluation of objective and strategies Summary -shared experience -the PIMS program -Product portfolio models -standardization

Marketing Strategy 1

Strategy การศึกษาเกี่ยวกับ concept -โครงสร้างทางการตลาด วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์เพื่อพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด -PIMS shared experience models มีสวนของ อัตราเงินเฟ้อ การส่งออกนำเข้า -product portphlio model BCG โมเดลที่กำหนดเอง Financial model

พฤติกรรมผู้บริโภค 2

สรุป พฤติกรรมผู้บริโภค Behavioral ,Science Economics, Marketing, Statistics

พฤติกรรมผู้บริโภค 1 consumer behavior

marketing model consumer behavior 5 stage model of consumer behavior 1. need 2. information search 3. evaluation 4. purchase 5. post purchase อธิบายถึง Need arousal the actual state and the desired state ซึ่งสามารถตอบโจทย์ what when where why Information Search -total set

Price ราคา การตั้งราคา

การตั้งราคา ประกอบไปด้วยวัตถุประสงค์ของธุรกิจ 1.Organization objective 2. Consumer willingness to pay 3. Costs of producing and marketing product 4. reactions of competition 5. Chanbge in 2 3 4 over time -Macreeconomic view -Developing demand and cost information for pricing decisions -model extensions -setting price in pracitice -price strategy สมการเกี่ยวกับรมคา Q=a-bP Price elasticity Pricing strategy แบ่งตาม และขึ้นอยู่กับ objective of firm เช่น Characheiritics of consumer, Vary prices among consumer segment

ผลิตภัณฑ์ (product)

ผลิตภัณฑ์ หมายถึงสิ่งใด ที่นักการตลาดทำให้ตอบสนองความต้องการหรือความจำเป็น และรวมไปถึงบริการ เกณฑ์ในการจำแนกประเภทของผลิตภัณฑ์ 1 เกณฑ์อายุใช้งาน ผลิตภัณฑ์คงทน ผลิตภัณฑืไม่คงทน 2 เกณฑ์ทางกายภาพ 3 เกณฑ์ สินค้าอุตสาหกรรมกับสินค้าอุปโภคบริโภค Three level of product 1. Core customer value 2. Actual product 3. Augmented product Product Design เมื่อนักการตลาดออกแบบผลิตภัณฑ์แล้วเราต้องสร้างผลิตภัณฑ์ขั้นมา และกำหนดประโยชน์พื้นฐานของผลิตภัณฑืตามความต้องการของลูกค้า หลักจากนั้นจึงออกแบบให้สวยงาม product strategy decisions 1. Indicudual product decisions 2. Product line decisions 3. Product mix decisions

องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ Product Component

องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลัก (Core Product) ประโยชน์หลักหรือประโยชน์พื้นฐานของผลิตภัณฑ์ เวลาเราขายของเราต้องขายที่ Core Product ไม่ใช่ยาสีฟัน แต่เป็นผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดฟัน รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (Formal product) ลักษณะทางกายภาพหรือ รูปลักษณ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น คุณภาพ รูปร่าง หีบห่อ ตรา สี ส่วนผสม ผลิตภัณฑ์คาดหวัง (Expected Product)ให้เกิดจากตัว product เท่านั้น ประโยชน์หลาย ๆ อย่างเช่น ประสิทธิภาพ ประโยชน์ ราคา โปรโมชั่น ผลิตภัณฑ์ควบ (Augmented Product) ประโยชน์ที่นอกเหนือจากประโยชน์หลัก เช่นการให้บริการอื่น ๆ การประกัน ศักยภาพของผลิตภัณฑ์ (Potential Product) ยังไม่มี แต่มีโอกาสที่จะมี การพัฒนาลักษณะใหม่ ๆ อขงผลิตภัณฑ์ เช่น คุณสมบัติ อรรถประโยชน์

เครื่องมือในการวิเคราะห์ลูกค้า Customer Analysis

เครื่องมือในการวิเคราะห์ลูกค้า ขั้นตอนที่ 1 การเบ่งส่วนตลาด Segmentation คือการกำหนดและแบ่งกลุ่มผู้ซื้อ ที่มีความต้องการและความชอบคล้ายกันเป็นกลุ่มโดยใช้ส่วนประสมการตลาดที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม ขั้นตอนที่ 2 การเลือกตลาดเป้าหมาย Tarketing การคัดเลือกส่วนตลาดที่จะเข้าไปดำเนินงาน การเลือกเข้าเพียงตลาดเดียวหรือหลายตลาด ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Positioning การกำหนดและสื่อสารประโยชน์หรือจุดขายในแต่ละตลาดเป้าหมายซึ่งแตกต่างจากคู่แข่งขันรายอื่น

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด นักการตลาดใช้ SWOT แต่ SWOT (จุดแข็งจุดอ่อน เป็นการวิเคราะห์อดีต)(โอกาส และอุปสรรค เป็นการวิเคราะห์อนาคต) ดูภายในธุรกิจ เราจะดูแค่ 4 P ปัจจัยภายนอกควบคุมไม่ได้แต่มีผลในการซื้อ ทั้งนี้ทั้งนั้นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทั้งหมดปัจจัยที่มีจากภายนอก และภายใน ความเสี่ยง ลด ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เพื่อจะทำให้เกิดโอกาศ รับ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เลิก ไม่ทำ สิ่งแวดล้อมทางการตลาด สิ่งแวดล้อมภายนอก แบ่งออกเป็น 2 อย่างคือ มหภาค กับ จุลภาค สิ่งแวดล้อมภายใน แบ่งออกเป็นปัจจัยทางการตลาด (4P) กับ อื่น ๆ (คน งาน ระบบด้านการตลาด)

ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค

ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค การทำให้เกิดพฤติกรรมผู้บริโภคเกิดจาก สิ่งกระตุ้นภายนอก อันได้แก่ สิ่งกระตุ้นทางการตลาด ได้แก่ 4 P (Product Price Place Promotion และ สิ่งกระตุ้นอื่น ๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเมือง วัฒนธรรมฯลฯ โดยที่การตัดสินใจของผู้ซื้อมากจาก 1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปัจจัยทางวัฒนธรรม (วัฒนธรรมพื้นฐาน วัฒนธรรมย่อย ชั้นทางสังคม) 2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปัจจัยทางสังคม (กลุ่มอ้างอิง ครอบครัว บทบาทและสถานะ) 3. ปัจจัยเฉพาะบุคคล ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล (อายุ วงจรชีวิตครอบครัว อาชีพ โอกาสทางเศรษฐกิจ หรือรายได้ ค่านิยมและรูปแบบการดำรงชีวิต) 4. ปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัจจัยด้านจิตวิทยา (แรงจูงใจ การรับรู้ การเรียนรู้ ความเชื่อถือ ทัศนคติ บุคลิกภาพ แนวคิดของตนเอง) สิ่งที่สำคัญคือ Black box

วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรม ลูกค้ารายใหม่ ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ์ใหม่ ; ทดสอบใน 2 เหตุการณ์ระหว่าง ผลกระทบของพนักงานขายที่ตั้งใจในการทำงานกับผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ์ใหม่ (ส่งงานวิชา marketing ผศ. ดร. วิชิต อูอ้น)

การ Review บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา MKT702 ของหลักสูตร DBA
Product Innovation, Customer Newness, and New Product Performance:
A Time-Lagged Examination of the Impact of Salesperson Selling
Intentions on New Product Performance
Frank Q. Fu, Eli Jones, and Willy Bolander
Journal of Personal Selling & Sales Management,Fall 2008, 351-364
จากกรอบแนวคิดของผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรม ลูกค้ารายใหม่ ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ์ใหม่ ; ทดสอบใน 2 เหตุการณ์ระหว่าง ผลกระทบของพนักงานขายที่ตั้งใจในการทำงานกับผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ์ใหม่
ความตั้งใจที่จะขายผลิตภัณฑ์ใหม่ของพนักงานขายที่มีมีผลต่อผลการดำเนินงานการเข้าสู่ตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจที่จะขายผลิตภัณฑ์ใหม่ของพนักงงานขายมี 2 ปัจจัย คือ ผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรม กับ ลูกค้ารายใหม่


กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และกำไรของผลิตภัณฑ์ใหม่: สำรวจในกรณีบทบาทของความเร็วในการเข้าสู่ตลาดและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (ส่งงานวิชา Marketing ของผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น)

การ Review บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา MKT702 ของหลักสูตร DBA
New Product Development Processes and New Product Profitability: Exploring the Mediating Role of Speed to Market and Product Quality
Regina C. McNally, M. Billur Akeeniz, and Roger J. Calantone 
J PROD INNOV MANAG 2011;28(s1):63-77, Product Development & Management Association
ผลการปฏิบัติงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องทางการเงิน ประกอบไปด้วย ความเร็วในการเข้าสู่ตลาด และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีผลต่อ กำไรของผลิตภัณฑ์ โดยที่ปัจจัยที่มีผลกระทบจะมีอยู่ 2 ประการได้แก่ การพัฒนาในแง่ของค่าใช้จ่ายอันประกอบด้วย Fuzzy Front End ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการวิจัย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการจัดทำ prototype และการทดสอบ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการติดตั้ง และการดำเนินการของโรงงาน
อีกประการหนึ่งคือการประสานการดำเนินงานทั้งภายในและภายนอกองค์การ

การขาย การตลาด และการวิจัยและพัฒนาองค์การให้ก้าวข้ามผ่านไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่: เพื่อให้ประสบความสำเร็จ (ส่งงานวิชา Marketing ผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น)

การ Review บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา MKT702 ของหลักสูตร DBA
Sales, Marketing, and Research-and-Development Cooperation Across
New Product Development Stages: Implications for Success
Holger Ernst, Wayne D. Hoyer, Carsten Rubsaamen
Journal of Marketing, Vol 74 (september 2010), 80-92
American Marketing Association ISBN:0022-2429
ภาพรวมของการดำเนินงานโครงการพัฒนผลิตภัณฑ์ใหม่ จะมีผลมาจากระยะของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ อันประกอบไปด้วย
ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาแนวคิด ประกอบไปด้วยการทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายวิจัยและพัฒนา การทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายการตลาด และการทำงานร่วมกันของฝ่ายการตลาดกับฝ่ายวิจัยและพัฒนา ซึ่งการทำงานร่วมกันของทั้งสามฝ่ายดังกล่าวข้างต้นส่งผลต่อภาพรวมของการดำเนินงานโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกอบไปด้วยการทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายวิจัยและพัฒนา การทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายการตลาด และการทำงานร่วมกันของฝ่ายการตลาดกับฝ่ายวิจัยและพัฒนา ซึ่งการทำงานร่วมกันของทั้งสามฝ่ายดังกล่าวข้างต้นส่งผลต่อภาพรวมของการดำเนินงานโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินงาน ประกอบไปด้วยการทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายวิจัยและพัฒนา การทำงานร่วมกันของฝ่ายขายและฝ่ายการตลาด และการทำงานร่วมกันของฝ่ายการตลาดกับฝ่ายวิจัยและพัฒนา ซึ่งการทำงานร่วมกันของทั้งสามฝ่ายดังกล่าวข้างต้นส่งผลต่อภาพรวมของการดำเนินงานโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

การตัดสินใจของผลการปฏิบัติงานของทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ทบทวน Meta-analytic (ส่งงาน Assignment ของ ผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น)

การ Review บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา MKT702 ของหลักสูตร DBA
Determination of New Product Development Team Performance:
 A Meta-analytic Review
Nagaraj Sivasubramaniam, S. Jay Liebowitz, and Conway L. Lackman
PROD INNOV MANAG 2012;29(5):803-820, Product Development & Management Association
DOI:10.1111/j.1540-5885.2012.00940.x
ภาพรวมความสำเร็จของผลการปฏิบัติงานของทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จะเกี่ยวข้องกับปัจจัยอยู่ 3 ด้านคือ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพท์ 
ในส่วนของปัจจัยนำเข้า จะได้แก่ขนาดของทีม ระยะเวลาที่ทีมงานดำรงตำแหน่ง ความหลากหลายของหน้าที่งาน ภาวะผู้นำของทีม และความสามารถของทีม ที่มีผลต่อ
กระบวนการ อันประกอบไปด้วยการติดต่อสื่อสารภายนอก และการติดต่อสื่อสารภายใน นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับ ระยะเวลาในการเข้าสู่ตลาด ความสามัคคีของกลุ่ม การประมาณการผลลัพท์ และควาชัดเจนของเป้าหมาย ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะมีผลต่อ
ผลลัพท์ ซึ่งประกอบไปด้วยประสิทธิผลของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ประสิทธิภาพของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และความเร็วในการเข้าสู่ตลาด ทั้งนี้ทั้งนั้น ปัจจัยนำเข้ายังส่งผลโดยตรงกับผลลัพท์อีกด้วย

วัฒนธรรมข้ามชาติและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ระดับโลก (ส่งงานที่เป็น assignment ของวิชา Marketing ผศ. ดร. วิชิต อู่อ้น)

การ Review บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา MKT702 ของหลักสูตร DBA
Cross-Culture Integration and Global New Product Development
Jianfeng Wang, Mansfield University of Pennsylvania, David Solan, Mansfield University of Pennsylvania, Bo Xu, Shanghai Institute of Foreign Trade
Journal of Business and Finance  studies. Volume 5, Number 1, 2014
ความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์มีเหตุมากจากวัฒนธรรมย่อยที่ประกอบด้วยเรื่องของ 1. อำนาจของระยะทาง 2. การหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน 3. ปัจจัยระดับบุคคล 4. ความเป็นผู้ชาย/ความเป็นผู้หญิง ซึ่งมีผลกับการเข้าสู่ตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่ กับการเริ่มต้นดำเนินการของผลิตภัณฑ์ใหม่อันจะนำมาซึ่งความสำเร็จของผลิตภัณฑืใหม่ โดยที่มีวัฒนธรรมต่างประเทศและวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อวัฒนธรรมย่อยอีกทีนึง

New Product Development กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน  มีหลักดำเนินธุรกิจและทำกำไรโดยไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น โดย
1.) มีความพอประมาณ : การดำเนินธุรกิจ แสวงหากำไรที่พอเพียง ไม่เบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น 
2.) ความมีเหตุผล: การบริหารความสัมพันธ์ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเป็นการเติบโตอย่างยั่งยืน 
3.) การสร้างภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุ้มกันตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือเครื่องมือการสร้างภูมิคุ้มกันให้ความช่วยเหลือผู้อื่น
ดังนั้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ต้องมีการพัฒนาในด้านที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตอบสนองความต้องการการใช้งานถึงผู้บริโภค และผลิตภัณฑ์ใหม่ต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาให้เกิดการรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ของ บริษัท Bath room Design ที่เน้นเรื่องของการประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม